top of page

วิสัยทัศน์

เป็นแหล่งเรียนรู้เสริมสร้างปัญญาด้วยเทคโนโลยีทันสมัย

เพื่อส่งเสริมคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สู่คณะแพทยศาสตร์ชั้นนำมาตรฐานสากล

IMG_1583.heic

คณะกรรมการ

การจัดหมวดหมู่

LC (ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน)

      การจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันนี้เรียกย่อ ๆ ว่าระบบ LC ผู้คิดคือ ดร.เฮอร์เบิร์ต พุทนัม (Herbert Putnum) ในปี ค.ศ. 1899 ขณะที่ทำหน้าที่เป็นบรรณารักษ์หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซึ่งปัจจุบันเป็นหอสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา

NLM (ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน)

      การจัดหมวดหมู่หนังสือทางการแพทย์ (https://classification.nlm.nih.gov/) เกิดจาก Army Medical Library ได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับเรื่องการจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุดในปี 1944 ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่หนังสือ โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข (ลักษณะการจัดหมวดหมู่ของ LC) และได้เสนอแนะให้ห้องสมุดทางการแพทย์มีการจัดหมวดหมู่ในลักษณะดังกล่าว จึงได้มีการตั้งคณะกรรมการเพื่อกำหนดการจัดหมวดหมู่หนังสือทางการแพทย์ขึ้น ซึ่งทำให้ได้แม่แบบในการจัดหมวดหมู่หนังสือทางการแพทย์ฉบับแรกขึ้น ในปี 1948 โดยพัฒนามาจากการจัดหมวดหมู่แบบ LC นั่นเอง

อักษรสัญลักษณ์พิเศษ

      ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ กำหนดสัญลักษณ์พิเศษที่ใช้แทนหมวดหมู่หนังสือหลักโดยใช้อักษรต่าง ๆ ดังนี้

(พิเศษเฉพาะ)

นวนิยาย

เรื่องสั้น

Pocket Book

อ้างอิง (อ้างอิงภาษาไทย)

Reference (อ้างอิงภาษาอังกฤษ)

Report (ผลงานวิจัยและรายงานต่าง ๆ)

Thesis (วิทยานิพนธ์)

มหาวิทยาลัยบูรพา

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

น.          

ร.ส.        

P.B.

อ.

R.
Re.

Th.

มบ.

พท.มบ.

จัดทำโดย นิสิต (61) สาขาสารสนเทศศึกษา 

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

bottom of page